กฏหมายเกี่บวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษา
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542(ฉบับปรับปรุง
พ.ศ.2545)
พรบ.การกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
1. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
หมวดที่ 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา 63
รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่
สื่อตัวนาและโครงสร้างพื้นฐานอื่นที่จาเป็นต่อการส่ง วิทยุกระจายเสียง
วิทยุโทรทัศน์ วิทยุโทรคมนาคม
และการสื่อสารในรูปอื่นเพื่อใช้ประโยชน์สาหรับการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ
การศึกษาตามอัธยาศัย การทานุบารุงศาสนาศิลปะและวัฒนธรรมตามความจำเป็น
มาตรา 64
รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตและพัฒนาแบบเรียนตารา หนังสือทางวิชาการ
สื่อสิ่งพิมพ์อื่น วัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น
โดยเร่งรัดพัฒนาขีดความสามารถในการผลิต จัดให้มีเงินสนับสนุนการผลิต
และมีการให้แรงจูงใจแก่ผู้ผลิตและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทั้งนี้
โดยเปิดให้มีการแข่งขันโดนเสรีอย่างเป็นธรรม
2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2540
ได้มีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารของประชาชนเสรีภาพในการสื่อสาร
(
มาตรา 37 ) เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น สื่อความหมาย และเสนอข่าว
( มาตรา 36 และ
41 ) สิทธิ์ในการได้รับข้อมูลข่าว ความคิดเห็น สื่อความหมาย และเสนอข่าว ( มาตรา
39 และ 41 ) สิทธิ์ในการได้รับข้อมูลข่าวสาร ( มาตรา 58 และ 59 )
การกระจายอานาจในการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นสารสนเทศ(มาตรา 78 )
และเสรีภาพในการใช้สื่อสารมวลชน (มาตรา 37) และ เสรีภาพในการใช้สื่อสารมวลชน
(มาตรา37,39,41,58,และ 59)
ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์
(1)วิจัยหรือศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น
(2)ใช้เพื่อประโยชน์ของเจ้าของสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น
(3)ติชมวิจารณ์หรือแนะนาผลงานโดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น
(4)เสนอรายงานข่าวทางสื่อสารมวลชนโดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น
(5)ทาสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในจานวนที่สมควรโดยบุคคลผู้ซึ่งได้ซื้อหรือได้รับโปรแกรมนั้นมาจากบุคคลอื่นโดยถูกต้องเพื่อเก็บไว้ใช้ประโยชน์ในการบารุงรักษาหรือป้องกันการสูญหาย
(6)ทาซ้าดัดแปลงนาออกแสดงหรือทาให้ปรากฏเพื่อประโยชน์ในการพิจารณาของศาลหรือเจ้าพนักงานซึ่งมีอานาจตามกฎหมายหรือในการรายงานผลการพิจารณาดังกล่าว
(7)นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นมาใช้เป็นส่วนหนึ่งในการถามและตอบในการสอบ
(8)ดัดแปลงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในกรณีที่จาเป็นแก่การใช้
(9)จัดทาสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อเก็บรักษาไว้สาหรับการอ้างอิงหรือค้นคว้าเพื่อประโยชน์ของสาธารณชน
แนวโน้มของเทคโนโลยีการศึกษาในอนาคต
สถานภาพการใช้เทคโนโลยีการศึกษาในปัจจุบัน
การเรียนการสอนในระบบ หมายถึง
การที่เทคโนโลยีการศึกษามีส่วนสนับสนุนการเรียนการสอนในระบบ
ในชั้นเรียนที่มีหลักสูตรเฉพาะ
โดยครูจะนาเทคโนโลยีการศึกษาที่เหมาะสมเข้ามาช่วยสนับสนุนการเรียนการสอนในชั้นเรียน
ทาให้การเรียนการสอนในระบบเกิดประสิทธิภาพมากขึ้น
สภาพการเรียนการสอนนอกระบบ หมายถึง การเรียนการสอนที่มีหลักสูตรเฉพาะกลุ่ม
หรือหลักสูตรที่มีกรอบการเรียนค่อนข้างกว้างขวาง
โดยไม่กาหนดระยะเวลา
ที่แน่นอน
สภาพการเรียนการสอนตามอัธยาศัย หมายถึง การที่เทคโนโลยีการศึกษามีส่วนช่วยสนับสนุนการเรียนการสอนตามอัธยาศัย
เป็นการจัดการศึกษาสาหรับบุคคลกลุ่มต่าง ๆ ที่มีความจากัดบางอย่าง
ศัพท์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาที่เกิดขึ้นใหม่
1. Ubiquitous
Learning คือ
การเรียนรู้รอบทิศทางโดยอาศัยเครือข่ายไร้สายในการศึกษาทั้ง Mobile
Learning, Tablet, WiFi เป็นต้น
2. Video
streaming คือการให้บริการ สื่อมัลติมีเดียประเภท วิดีโอ
ผ่านทางอินเตอร์เน็ต ด้วยเทคโนโลยี streaming ซึ่งคล้ายกับ
radiostreaming แต่แตกต่างตรงที่เปลี่ยนจากประเภท เสียง
เป็นการเผยแพร่ประเภท วิดิโอ โดยถ้าจะให้มองเห็นภาพของ วีดิโอ สตรีมมิ่งชัดเจน
ขึ้น ให้มองถึงการถ่ายทอดสด หรือรายการที่ออกอาการทางโทรทัศน์ ซึ่งวีดิโอ
สตรีมมิ่ง จะมีลักษณะเดียวกัน แต่เปลี่ยนมาเผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต
3. Hybrid
Learning/Blended Learning คือ การเรียนการสอนแบบผสมผสานระหว่าง e-Learning
และ ชั้นเรียนในสัดส่วน online 30-79%
4. HyFlexLearning คือ
การเรียนการสอนผสมผสานแบบยืดหยุ่นที่ให้ผู้เรียนมีทางเลือกด้วยตนเอง
ออกแบบการเรียนด้วยตนเองทั้ง การเรียนการสอน ออนไลน์, เผชิญหน้า,
หรือค้นคว้าด้วยตนเองตามแหล่งการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับเนื้อหา
บทบาทและหน้าที่ของนักเทคโนโลยีการศึกษา
หน้าที่ของนักเทคโนโลยีการศึกษา
1. หาวิธี
ที่ทาให้คนเกิดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเป็นตัวกลาง
2.ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจได้ง่าย
รวดเร็ว สะดวก และเป็นไปอย่างมีระบบโดยแปลงเนื้อหาจากนามธรรมให้เป็นรูปธรรม
บทบาทของนักเทคโนโลยีการศึกษา
1. ด้านการผลิต
2. ด้านการออกแบบพัฒนา
3. ด้านการเลือกและการใช้
4. ด้านการบริการและให้คาปรึกษา
5. ด้านการบริหาร
6. ด้านการวิจัย
แนวโน้มบทบาทของนักเทคโนโลยีการศึกษา
1. เป็นนักพัฒนาการสอน
2. เป็นผู้ที่มีความรู้ในการวิจัย
3. มีความสามารถในการบริหาร
4. เป็นผู้ให้บริการ
5. เป็นผู้ให้การฝึกอบรม
6.
เป็นผู้ส่งเสริมการใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ที่เหมาะสม
คุณลักษณะของนักเทคโนโลยีการศึกษา
1. ด้านบุคลิกภาพ (คุณลักษณะส่วนตัว)
- มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
-มีความคิดสร้างสรรค์
-มีความอดทน มีอุดมการณ์ที่แน่นอน
- เป็นคนทันสมัย ค้นคว้าหาความรู้อยู่เสมอ
-รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เป็นคนใจกว้าง
- รู้จักประชาสัมพันธ์งานด้านเทคโนโลยีการศึกษา
2. ด้านความรู้ (คุณลักษณะทางด้านวิชาชีพ)
- มีความรู้สามารถให้คาแนะนา, ปรึกษาด้านเทคโนโลยีได้
- มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับด้านเทคโนโลยีการศึกษา
- สามารถควบคุมเครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์ได้
- สามารถออกแบบ และผลิตสื่อการสอนได้
- รู้จักวางแผนและวางระบบการทางาน
- รู้จักหลักการบริหารคน เงิน วัสดุ
จรรยาบรรณวิชาชีพ หมายถึง หลักความประพฤติอันเหมาะสม แสดงถึงคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบอาชีพ ที่กลุ่มบุคคลแต่ละสาขาวิชาชีพประมวลขึ้นไว้เป็นหลักเพื่อให้สมาชิกในวิชาชีพนั้นๆ ยึดถือปฏิบัติเพื่อรักษาชื่อเสียงและส่งเสริมเกียรติคุณของสาขาวิชาชีพของตนเอง
(สภาวิจัยแห่งชาติ.2541:2)
จรรยาบรรณของนักเทคโนโลยีการศึกษาไทย
1. จรรยาบรรณต่อตนเอง
2. จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมงาน
3. จรรยาบรรณต่อหน่วยงาน
4. จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
5. จรรยาบรรณต่อสังคม