วันพุธที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

แนะนำตัวจ้า


สวัสดีค่ะ


ฉันชื่อ  : น.ส. ภัทรวดี ทรัพย์ทวีปัญญา  ชื่อเล่น จูน

ศึกษาอยู่ที่ : มหาวิทยาลัยบูรพา บางแสน  คณะ ศึกษาศาสตร์  สาขา เทคโนโลยีการศึกษา

รหัสนิสิต : 54540080

เป็นคน : จังหวัด ชลบุรี  จ้า

คติประจำใจ: ข้อผิดพลาดคือการเรียนรู้ ให้ก้าวเดินต่อไปในวันข้างหน้า

E-mail : nine-stitch@hotmail.com
เพลงใหม่ล่าสุด

ฟังเพลง ลูกอม – วัชราวลี

วันอังคารที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

QR-Code webblogger

qrcode

กฏหมายเกี่บวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษาและจรรยาบรรณของนักเทคโนโลยีการศึกษา


กฏหมายเกี่บวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษา


พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2545)

พรบ.การกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550

หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

1. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 

หมวดที่ 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

มาตรา 63

รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนาและโครงสร้างพื้นฐานอื่นที่จาเป็นต่อการส่ง วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ วิทยุโทรคมนาคม และการสื่อสารในรูปอื่นเพื่อใช้ประโยชน์สาหรับการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การทานุบารุงศาสนาศิลปะและวัฒนธรรมตามความจำเป็น


มาตรา 6

รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตและพัฒนาแบบเรียนตารา หนังสือทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์อื่น วัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น โดยเร่งรัดพัฒนาขีดความสามารถในการผลิต จัดให้มีเงินสนับสนุนการผลิต และมีการให้แรงจูงใจแก่ผู้ผลิตและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทั้งนี้ โดยเปิดให้มีการแข่งขันโดนเสรีอย่างเป็นธรรม



2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
 ได้มีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารของประชาชนเสรีภาพในการสื่อสาร 
( มาตรา 37 ) เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น สื่อความหมาย และเสนอข่าว
( มาตรา 36 และ 41 ) สิทธิ์ในการได้รับข้อมูลข่าว ความคิดเห็น สื่อความหมาย และเสนอข่าว ( มาตรา 39 และ 41 ) สิทธิ์ในการได้รับข้อมูลข่าวสาร ( มาตรา 58 และ 59 ) การกระจายอานาจในการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นสารสนเทศ(มาตรา 78 ) และเสรีภาพในการใช้สื่อสารมวลชน (มาตรา 37) และ เสรีภาพในการใช้สื่อสารมวลชน
(มาตรา37,39,41,58,และ 59)


ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์

(1)วิจัยหรือศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น

(2)ใช้เพื่อประโยชน์ของเจ้าของสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น

(3)ติชมวิจารณ์หรือแนะนาผลงานโดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น

(4)เสนอรายงานข่าวทางสื่อสารมวลชนโดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น

(5)ทาสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในจานวนที่สมควรโดยบุคคลผู้ซึ่งได้ซื้อหรือได้รับโปรแกรมนั้นมาจากบุคคลอื่นโดยถูกต้องเพื่อเก็บไว้ใช้ประโยชน์ในการบารุงรักษาหรือป้องกันการสูญหาย

(6)ทาซ้าดัดแปลงนาออกแสดงหรือทาให้ปรากฏเพื่อประโยชน์ในการพิจารณาของศาลหรือเจ้าพนักงานซึ่งมีอานาจตามกฎหมายหรือในการรายงานผลการพิจารณาดังกล่าว

(7)นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นมาใช้เป็นส่วนหนึ่งในการถามและตอบในการสอบ

(8)ดัดแปลงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในกรณีที่จาเป็นแก่การใช้

(9)จัดทาสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อเก็บรักษาไว้สาหรับการอ้างอิงหรือค้นคว้าเพื่อประโยชน์ของสาธารณชน





แนวโน้มของเทคโนโลยีการศึกษาในอนาคต

สถานภาพการใช้เทคโนโลยีการศึกษาในปัจจุบัน

การเรียนการสอนในระบบ    หมายถึง การที่เทคโนโลยีการศึกษามีส่วนสนับสนุนการเรียนการสอนในระบบ ในชั้นเรียนที่มีหลักสูตรเฉพาะ โดยครูจะนาเทคโนโลยีการศึกษาที่เหมาะสมเข้ามาช่วยสนับสนุนการเรียนการสอนในชั้นเรียน ทาให้การเรียนการสอนในระบบเกิดประสิทธิภาพมากขึ้น



  สภาพการเรียนการสอนนอกระบบ    หมายถึง  การเรียนการสอนที่มีหลักสูตรเฉพาะกลุ่ม หรือหลักสูตรที่มีกรอบการเรียนค่อนข้างกว้างขวาง โดยไม่กาหนดระยะเวลา
ที่แน่นอน



  สภาพการเรียนการสอนตามอัธยาศัย    หมายถึง การที่เทคโนโลยีการศึกษามีส่วนช่วยสนับสนุนการเรียนการสอนตามอัธยาศัย เป็นการจัดการศึกษาสาหรับบุคคลกลุ่มต่าง ๆ ที่มีความจากัดบางอย่าง


ศัพท์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาที่เกิดขึ้นใหม่

  1. Ubiquitous Learning คือ การเรียนรู้รอบทิศทางโดยอาศัยเครือข่ายไร้สายในการศึกษาทั้ง Mobile Learning, Tablet, WiFi เป็นต้น

  2. Video streaming  คือการให้บริการ สื่อมัลติมีเดียประเภท วิดีโอ ผ่านทางอินเตอร์เน็ต ด้วยเทคโนโลยี streaming ซึ่งคล้ายกับ radiostreaming แต่แตกต่างตรงที่เปลี่ยนจากประเภท เสียง เป็นการเผยแพร่ประเภท วิดิโอ โดยถ้าจะให้มองเห็นภาพของ วีดิโอ สตรีมมิ่งชัดเจน ขึ้น ให้มองถึงการถ่ายทอดสด หรือรายการที่ออกอาการทางโทรทัศน์ ซึ่งวีดิโอ สตรีมมิ่ง จะมีลักษณะเดียวกัน แต่เปลี่ยนมาเผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต

  3. Hybrid Learning/Blended Learning  คือ การเรียนการสอนแบบผสมผสานระหว่าง e-Learning และ ชั้นเรียนในสัดส่วน online 30-79%


 4. HyFlexLearning  คือ การเรียนการสอนผสมผสานแบบยืดหยุ่นที่ให้ผู้เรียนมีทางเลือกด้วยตนเอง ออกแบบการเรียนด้วยตนเองทั้ง การเรียนการสอน ออนไลน์, เผชิญหน้า, หรือค้นคว้าด้วยตนเองตามแหล่งการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับเนื้อหา



บทบาทและหน้าที่ของนักเทคโนโลยีการศึกษา

   หน้าที่ของนักเทคโนโลยีการศึกษา

1. หาวิธี ที่ทาให้คนเกิดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเป็นตัวกลาง

2.ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจได้ง่าย รวดเร็ว สะดวก และเป็นไปอย่างมีระบบโดยแปลงเนื้อหาจากนามธรรมให้เป็นรูปธรรม


บทบาทของนักเทคโนโลยีการศึกษา


1. ด้านการผลิต

2. ด้านการออกแบบพัฒนา

3. ด้านการเลือกและการใช้

4. ด้านการบริการและให้คาปรึกษา

5. ด้านการบริหาร

6. ด้านการวิจัย


แนวโน้มบทบาทของนักเทคโนโลยีการศึกษา


1. เป็นนักพัฒนาการสอน

2. เป็นผู้ที่มีความรู้ในการวิจัย

3. มีความสามารถในการบริหาร

4. เป็นผู้ให้บริการ

5. เป็นผู้ให้การฝึกอบรม

6. เป็นผู้ส่งเสริมการใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ที่เหมาะสม


คุณลักษณะของนักเทคโนโลยีการศึกษา


1. ด้านบุคลิกภาพ (คุณลักษณะส่วนตัว)

มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี

-มีความคิดสร้างสรรค์

-มีความอดทน มีอุดมการณ์ที่แน่นอน

- เป็นคนทันสมัย ค้นคว้าหาความรู้อยู่เสมอ

-รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เป็นคนใจกว้าง

- รู้จักประชาสัมพันธ์งานด้านเทคโนโลยีการศึกษา


2. ด้านความรู้ (คุณลักษณะทางด้านวิชาชีพ)

มีความรู้สามารถให้คาแนะนา, ปรึกษาด้านเทคโนโลยีได้

มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับด้านเทคโนโลยีการศึกษา

สามารถควบคุมเครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์ได้

สามารถออกแบบ และผลิตสื่อการสอนได้

รู้จักวางแผนและวางระบบการทางาน

รู้จักหลักการบริหารคน เงิน วัสดุ


จรรยาบรรณวิชาชีพ  หมายถึง หลักความประพฤติอันเหมาะสม แสดงถึงคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบอาชีพ ที่กลุ่มบุคคลแต่ละสาขาวิชาชีพประมวลขึ้นไว้เป็นหลักเพื่อให้สมาชิกในวิชาชีพนั้นๆ ยึดถือปฏิบัติเพื่อรักษาชื่อเสียงและส่งเสริมเกียรติคุณของสาขาวิชาชีพของตนเอง 
(สภาวิจัยแห่งชาติ.2541:2)

จรรยาบรรณของนักเทคโนโลยีการศึกษาไทย


1. จรรยาบรรณต่อตนเอง


2. จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมงาน


3. จรรยาบรรณต่อหน่วยงาน


4. จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ


5. จรรยาบรรณต่อสังคม

ฝึกเขียนตัวอักษรไทยรูปแบบสมเด็จกรมพระนริศฯ

ฝึกเขียนตัวอักษรไทยรูปแบบสมเด็จกรมพระนริศฯ

รูปแบบสมเด็จกรมพระนริศฯ  หมายถึง  ลักษณะตัวอักษรที่
สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เป็นผู้คิดรูปแบบขึ้น 
ซึ่งเป็นที่นิยมใช้กันมาก เพราะเป็นแบบทีใช้เขียน
ได้อย่างรวดเร็ว สะดวก และเหมาะสมกับการเขียนด้วยปากกา
 สปีดบอลล์ พู่กันแบน และสีเมจิกชนิดปลายตัด หรือที่เรียกว่า อักษรหัวตัด





ทบทวนความรู้ก่อนสอบจ้า

ทบทวนความรู้ก่อนสอบจ้า


ความหมายของเทคโนโลยี


การนำความรู้จากกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาสู่การประยุกต์ใช้
ทั้งในรูปแบบของอุปกรณ์เครื่องมือ แนวคิด เทคนิควิธีการ
เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้


เทคโนโลยีการศึกษา มี 5 ขอบข่าย ดังรายละเอียดต่อไปนี้

   1. การออกแบบ (Design)
   2. การพัฒนา (Development)
   3. การใช้ (Utilization)
   4. การจัดการ (Management)
   5. การประเมิน (Evaluation)

ประเภทของสื่อการสอน

สื่อการสอน
สื่อการศึกษา/ สื่อการสอน
Educational Media สื่อการศึกษา
Instructional Media สื่อการสอน
สื่อการสอน Instructional Media
ความหมาย
หมายถึงตัวกลางที่ใช้ในการถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ ความคิดและทักษะต่าง ๆ
ไปสู่ผู้เรียน


สื่อการสอน
Percival and Ellington (1984) และ De Kieffer(1965)
ได้แบ่งสื่อการสอนตามลักษณะภายนอกและคุณสมบัติของสื่อการสอน มี 3 ประเภท
1.สื่อที่ไม่ต้องฉาย (non projected material)
2.สื่อที่ต้องฉาย (projected material)
3.สื่อที่เกี่ยวกับเสียง (Audio material )
แบ่งตามแนวคิดเทคโนโลยีการศึกษา
1. วัสดุ - สื่อที่ผลิตขึ้น เช่น รูปภาพ แผนภูมิ
2. อุปกรณ์ - เครื่องมืออุปกรณ์ สำเร็จรูป ทั้งที่สามารถใช้ได้ด้วยตนเอง เช่น
หุ่นจาลอง และสื่อที่ต้องใช้ร่วมกับวัสดุ เช่น วีดีทัศน์ สไลด์
3. วิธีการ - กิจกรรม เกม ศูนย์การเรียน ทัศนศึกษา สถานการณ์จาลอง แหล่งความรู้ชุมชน

ระบบ คืออะไร
ภาพรวมของหน่วยสมบูรณ์ที่ประกอบด้วยหน่วยย่อย
ที่เป็นอิสระแต่มีความสัมพันธ์และมีปฏิสัมพันธ์
ซึ่งกันและกันโดยมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน

ระบบจะต้องมี

1.องค์ประกอบย่อย
2.องค์ประกอบย่อยนั้นต้องมีความสัมพันธ์กัน มีการโต้ตอบ
มีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
3.ระบบต้องมีเป้าหมายในการดำเนินกิจกรรมนั้น ๆ
4.กลไกการควบคุมเพื่อให้ทำงานตามจุดมุ่งหมาย


การสื่อสารและทฤษฏีการสื่อสารและประวัติความเป็นมาของตัวอักษรไทย

การสื่อสารและทฤษฏีการสื่อสาร


ความหมายของการสื่อสาร


-เป็นกระบวนการถ่ายทอด/แลกเปลี่ยนเรื่องราว  ความต้องการ  ความคิดเห็น 
ความรู้สึก ระหว่างผู้ส่ง-ผู้รับ  ผ่านสื่อ  ช่องทาง


-ระบบเพื่อการติดต่อ  รับส่งข้อมูลซึ่งกันและกัน




ความสำคัญของการสื่อสาร  


มนุษย์เป็นสัตว์สังคม (Social  Animals) จำเป็นต้องมีการสื่อสารเพื่อใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน




ลักษณะของการสื่อสาร


1. วิธีการสื่่อสาร


1.1 การสื่อสารด้วยวาจา หรือ วจนภาษา (Oral Communication)

1.2 การสื่อสารที่มิใช่วาจา หรือ อวจนภาษา (Nonverbal Communication)
                
1.3 การสื่อสารด้วยการใช้จักษุสัมผัส หรือ การเห็น (Visual Communication)



2. รูปแบบของการสื่อสาร

 2.1 การสื่อสารทางเดียว (One-way Communication)

 2.2 การสื่อสารสองทาง (Two-way  Communication)













3. ประเภทของการสื่อสาร

 3.1 การสื่อสารในตนเอง (Self- Communication)

 3.2 การสื่อสารระหว่างบุคคล (Intrapersonal  Communication)

 3.3 การสื่อสารแบบกลุ่มย่อย (Small group Communication)

 3.4 การสื่อสารแบบกลุ่มใหญ่ (Large group Communication)

 3.5 การสื่อสารมวลชน (Mass Communication)


องค์ประกอบของการสื่อสาร

1. ผู้ส่งสาร (Source)

2. สาร (Message)

3. สื่อหรือช่องทาง (Media or Channel)

4. ผู้รับ (Receiver)

5. ผล (Effect)

6. ผลย้อนกลับ (Feedback)





ทฤษฎีการสื่อสารและการเรียนการสอน







ทฤษฎีการสื่อสารทางเดียวเชิงเส้นตรงของแชนนันและวีเวอร์









ทฤษฎีการสื่อสารของชแรมม์










ทฤษฎีการสื่อสารเชิงวงกลมของออสกูดและชแรมม์




อุปสรรคของการสื่อสาร

1. คำพูด (Verbalisn)

2. ฝันกลางวัน (Day Dreaming)

3. ข้ออ้างถึงที่ขัดแย้ง (Referent Confusion)

4. การรับรู้ที่จำกัด (Limited Perception)

5. สภาพแวดล้อมทางกายภาพไม่เอื้ออำนวย(Physical Discomfort)

6. การไม่ยอมรับ (Inperception)




ประวัติความเป็นมาของตัวอักษร

        ตัวอักษรมนุษย์ได้ประดิษฐ์ขึ้นตั้งแต่สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น ตัวอักษรสร้างขึ้นเพื่อเป็นสื่อทางการติดต่อ ตัวอักษรสมัยโบราณส่วนมากจะวิวัฒนาการมาจากภาพ เช่น อักษรของอียิปต์ ชื่อว่าอักษรไฮเออโรกลิฟิค (Hieroglyphic) ประมาณ 6,000 ปีล่วงมาแล้ว ยังมีอักษรที่เรียกว่า “อักษรลิ่ม” (Cuneiform) ของชาวซูเมอร์เรียน ซึ่งมีความเก่าแก่เท่า ๆ กันกับอักษรของอียิปต์โบราณ ระยะเวลาที่ใกล้เคียงกันนั้นเอง ในทวีปเอเซีย ประเทศจีน และอินเดีย ก็ได้ประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้

        ตัวอักษรที่เป็นสากลส่วนมากใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ ต้นตระกูลของอักษรภาษาอังกฤษ คือ อักษรโฟนิเซีย ซึ่งแพร่หลายอย่างกว้างขวางในยุโรป ประมาณ 1,000 ปีก่อนคริสต์กาล ชาวกรีกได้นำไปใช้เป็นหลักการเขียนตัวอักษร แล้วนำไปสู่พวกโรมันแก้ไขปรับปรุงจนกลายเป็นอักษรภาษาอังกฤษที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน

        การประดิษฐ์ตัวอักษรของไทย เริ่มในสมัยสุโขทัย เมื่อปี พ.ศ. 1826  โดยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช พระองค์ทรงดัดแปลงมาจากอักษรของขอมและอักษรมอญโบราณ นำมาประดิษฐ์ใหม่เป็นตัวอักษรของชาติไทย ระยะแรกพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ เรียงแถวกันในบรรทัดเดียวกัน ต่อมาได้เปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ซึ่งบางตัวอยู่ข้างล่าง ข้างบน ข้างหน้า และข้างหลัง ดังปรากฏที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน



ลักษณะของตัวอักษรไทย      

นักเรียนควรจะศึกษารูปแบบลักษณะของตัวอักษรภาษาไทย ซึ่งแบ่งได้เป็น 4 รูปแบบ คือ

1.  รูปแบบทางราชการ ได้แก่ ตัวอักษรที่มีลักษณะแบบเรียบๆ อ่านง่าย นิยมใช้กันมากโดยเฉพาะงานที่เกี่ยวกับทางราชการ องค์การต่าง ๆ ใช้ในการพิมพ์หนังสือเรียนเป็นแบบที่เรียบร้อยแสดงถึงความเป็นระเบียบแบบแผนของความเป็นไทย  ลักษณะของตัวอักษรจะเป็นหัวกลม

2. รูปแบบอาลักษณ์   หมายถึง แบบตัวอักษรที่ใช้ในราชสำนักมาแต่โบราณ นับแต่พระบรมราชโองการ เอกสารทางราชการ หรือการจารึกเอกสารสำคัญ เช่นรัฐธรรมนูญ งานเกียรติยศต่าง ๆ

3.  รูปแบบสมเด็จกรมพระนริศฯ  หมายถึง  ลักษณะตัวอักษรที่สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เป็นผู้คิดรูปแบบขึ้น ซึ่งเป็นที่นิยมใช้กันมาก เพราะเป็นแบบที่ใช้เขียนได้อย่างรวดเร็ว สะดวก และเหมาะสมกับการเขียนด้วยปากกา สปีดบอลล์ พู่กันแบน และสีเมจิกชนิดปลายตัด หรือที่เรียกว่า อักษรหัวตัด

4.  รูปแบบประดิษฐ์   หมายถึง รูปแบบตัวอักษรที่เกิดจากการออกแบบสร้างสรรค์เพื่อนำไปใช้ให้เหมาะสมกับงานประเภทต่าง ๆ เช่น งานออกแบบโฆษณา หัวเรื่องหนังสือ ฯลฯ ซึ่งออกแบบให้เป็นแบบเหลี่ยม แบบวงกลม แบบโค้ง และแบบอื่น ๆ ตามความเหมาะสม


          

ทัศนศึกษา ณ สถาบันวิทยาาสตร์ทางทะเลและหอศิลปะและวัฒนธรรมภาคตะวันออก มหาวิทยาวัยบูรพา จ.ชลบุรี


ทัศนศึกษา ณ สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลและหอศิลปะและวัฒนธรรมภาคตะวันออก มหาวิทยาวัยบูรพา จ.ชลบุรี

ให้นิสิตเขียนบันทึกเรื่องราวพร้อมลงรูปของตน สาระที่ได้เรียนรู้วันนี้ลงใน Weblog

      จากการที่ได้ไปทัศนศึกษาที่สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล และ หอศิลปะวัฒนธรรมภาคตะวันออก ม.บูรพาดิฉันได้เรียนรู้เรื่องราวมากมายที่เกี่ยวกับท้องทะเล ปลาชนิดต่างๆ ได้เรียนรู้วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของสัตว์ทะเลต่างๆมากมายอีกทั้งการเรียนรู้เกี่ยวสื่อชนิดต่างๆ ได้สัมผัสได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงว่าสื่อชนิดนี้เรียกว่าสื่อประเภทไหน เช่น หุ่นจำลอง ที่หอศิลปะและวัฒนธรรมภาคตะวันออก จะเป็นสื่อ 3 มิติ และป้ายที่จัดแสดงให้ความรู้ในเรื่องราวต่างๆ จะเป็นป้ายนิเทศจะเป็นสื่อประเภท 2 มิติ




ภาพนี้เป็นภาพถ่ายจากหอศิลปะและวัฒนธรรมภาคตะวันออก




ภาพนี้เป็นภาพที่ถ่ายจากสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล




                 จากที่ดิฉันได้ไปทัศนศึกษาทั้ง 2 แหล่งการเรียนรู้ทำให้ดิฉันได้เข้าใจในการเรียนการสอนของรายวิชาหลักและทฤษฎีเทคโนโลยีการศึกษามากยิ่งขึ้นและได้เข้าใจเนื้อหาการเรียนการสอนมากยิ่งขึ้นและยังได้ประการณ์การเรียนรู้นอกสถานที่อีกกด้วยค่ะ